หลักสูตร 2551
การใช้หลักสูตรการศึกษานอกระบบ 2551 เมื่อวันที่ 18 ก.ย. 511.มีโครงสร้างยืดหยุ่นด้านการเรียนรู้ เวลาเรียนและการจัดการเรียนรู้ โดนเน้นการบูรณาการเนื้อหาให้สอดคล้องกับวิถีชีวิต ความแตกต่างของบุคคล ชุมชน และสังคม
2.ส่งเสริมให้มีการเทียบโอนผลการเรียนจากการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
3.ส่งเสริมให้ผุ้เรียนได้พัฒนาและเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิตโดยตระหนักว่าผู้เรียนมีความสำคัญ สามารถพัฒนาตนเองได้ตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ
4.ส่งเสิรมภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วม
สาระการเีรียนรู้ 5 สาระ
1.สาระทักษะการเรียนรู้ เป็นสาระเกี่ยวกับการเรียนรู้ด้วยตนเอง การใช้แหล่งเรียนรู้ คิดเป็น วิจัย2.สาระความรู้พื้นฐาน เกี่ยวกับภาษา การสื่อสาร คฯิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
3.สาระประกอบอาชีพ ช่องทางการตัดสินใจ ประกอบอาชีพ ทักษะในอาชีพ อย่างมีคุณธรรมและมีความมั่นคง
4.สาระการดำเนินชีวิต ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สุขศึกษา พลศึกษา ศิลปศึกษา
5.สาระการพัฒนาสังคม ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมือง การปกครอง ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี หน้าที่พลเมือง การพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม
แนวทางการวัดและประเมินผล
1.การวัดและประเมินผลการเรียนเป็นรายวิชา
การสังเกต การสัมภาษณ์ ประเมินจากแฟ้มสะมสมผลงาน ประเิมินการปฏิบัติตามมาตราฐานการเรียนรู้ (Performance Evaluation) ประเมินการปฏิบัติจริง (Authentic Assessment) ทดสอบย่อย (Quiz) กิจกรรม โครงงาน แบบฝึกหัด
2.การประเมินกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต 100 ชั่วโมง เทียบโอนไม่ได้
3.การประเมินคุณธรรม ประเมินโดยคณะกรรมการการวัดและประเมินผลของสถานศึกษา
4.การประเมินคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับชาติ ผู้เรียนทุกคนที่เรียนในภาคเรียนสุดท้ายของทุกระดับการศึกษา ต้องเข้ารับการประเมิน ไม่มีผลต่าอการจบหลักสูตร แต่เพื่อจะนำไปวางแผนพัฒนาคุณภาพผู้เรียนต่อไป
- ม.ต้น วิชาบังคับ 40 หน่วย วิชาเลือกไม่น้อยกว่า 16 หน่วย ไม่น้อยกว่า 56 หน่วย
- ม.ปลาย วิชาบังคับ 44 หน่วย วิชาเลือกไม่น้อยกว่า 32 หน่วย ไม่น้อยกว่า 76 หน่วย
เกณฑ์การจบหลักสูตร
- ประถม วิชาบังคับ 36 หน่วย วิชาเลือกไม่น้อยกว่า 12 หน่วย ไม่น้อยกว่า 48 หน่วย- ม.ต้น วิชาบังคับ 40 หน่วย วิชาเลือกไม่น้อยกว่า 16 หน่วย ไม่น้อยกว่า 56 หน่วย
- ม.ปลาย วิชาบังคับ 44 หน่วย วิชาเลือกไม่น้อยกว่า 32 หน่วย ไม่น้อยกว่า 76 หน่วย