ข้อสอบคณิตศาสตร์
1. โยนเหรียญบาท 3 เหรียญ 1 ครั้ง โอกาสที่เหรียญจะออกหัวทั้ง 3 เหรียญเป็นเท่าใด (ข้อสอบปี 54)วิธีคิด
ให้มองว่าการโยนเหรียญ 1 ครั้งมีโอกาส 2 แบบคือ หัวกับก้อย
ให้เอาโอกาสแต่ละครั้งมาคูณกันครับ จะได้ ถ้าโยนเหรียญ 3 ครั้ง คือ = 2 x 2 x 2 = 8
ให้เอาโอกาสแต่ละครั้งมาคูณกันครับ จะได้ ถ้าโยนเหรียญ 3 ครั้ง คือ = 2 x 2 x 2 = 8
มีหลายแนวคิดสำหรับการหาเหตุการณ์ที่เราสนใจครับ ต้องทำโจทย์ดูเองสำหรับโจทย์ข้อนี้ใช้หลักการไล่หา
หัว หัว หัว เหตุการณ์ที่เราสนใจมีเหตุการณ์เดียว
ก้อย ก้อย หัว
ก้อย ก้อย ก้อย
หัว หัว ก้อย
ก็จะได้จำนวนเหตุการณ์ที่เราสนใจเหตุการณ์เเดียว คือ หัว หัว หัว
ดังนั้น ความน่าจะเป็น = เราสนใจ/ทั้งหมด 1/8 = 0.125
_________________________________________________________________________________
2. โยนเหรียญบาท 1 อัน 4 ครั้งจงหาความน่าจะเป็น ขึ้นหัว 3 ครั้ง และก้อย 1 ครั้ง เป็นเท่าใด (ข้อสอบปี 54)
วิธีคิด
ให้มองว่าการโยนเหรียญครั้งนึงมีโอกาส 2 แบบคือ หัวกับก้อย
ให้เอาโอกาสแต่ละครั้งมาคูณกันครับ จะได้ถ้าโยนเหรียญ 4 ครั้ง คือ = 2 x 2 x 2 x 2 = 16
ให้เอาโอกาสแต่ละครั้งมาคูณกันครับ จะได้ถ้าโยนเหรียญ 4 ครั้ง คือ = 2 x 2 x 2 x 2 = 16
จำนวนเหตุการณ์ที่เราสนใจ =
1. หัว หัว หัว ก้อย
2. หัว หัว ก้อย หัว
3. หัว ก้อย หัว หัว
4. ก้อย หัว หัว หัว
2. หัว หัว ก้อย หัว
3. หัว ก้อย หัว หัว
4. ก้อย หัว หัว หัว
ก็จะได้จำนวนเหตุการณ์ที่เราสนใจ 4 เหตุการณ์
ดังนั้น ความน่าจะเป็น = เราสนใจ/ทั้งหมด = 4/16 = 0.25
_________________________________________________________________________________
วิธีคิด
โยนลูกเต๋า 1 ครั้ง มีโอกาสได้ 6 แบบคือ 1, 2, 3, 4, 5, 6 ดังนั้น เหตุการณ์ทั้งหมด = 6 x 6 x 6 = 216
โยนลูกเต๋า 3 ลูก จำนวนเหตุการณ์ที่จะได้ เลขคี่ คือ 1 หนึ่งครั้ง เลข 3 หนึ่งครั้ง และเลข 5 หนึ่งครั้ง =
1 3 5
1 5 3
3 1 5
3 5 1
5 3 1
5 1 3
จำนวนเหตุการณ์ที่เราสนใจจะมี 6 เหตุการณ์
ดังนั้น ความน่าจะเป็น = เราสนใจ/ทั้งหมด = 6/216 = 0.27
_________________________________________________________________________________
4.โยนลูกเต๋า 2 ลูกพร้อมกัน ความน่าจะเป็นที่มีผลรวมแต้มของลูกเต๋าทั้งสองเป็นจำนวนเฉพาะมีค่าเป็นเท่าใด (ข้อสอบปี 54)
วิธีคิด
โยนลูกเต๋า 1 ครั้ง มีโอกาสได้ 6 แบบคือ 1, 2, 3, 4, 5, 6 ดังนั้น เหตุการณ์ทั้งหมด = 6 x 6 = 36
โยนลูกเต๋า 1 ครั้ง มีโอกาสได้ 6 แบบคือ 1, 2, 3, 4, 5, 6 ดังนั้น เหตุการณ์ทั้งหมด = 6 x 6 = 36
จำนวนเหตุการณ์
1. 1+1
2. 1+2
3. 1+4
4. 1+6
5. 2+1
6. 2+3
7. 2+5
8. 3+2
9. 3+4
10. 4+1
11. 4+3
12. 5+2
13. 5+6
14. 6+1
15. 6+5
จำนวนเหตุการณ์ที่เราสนใจจะมี 15 เหตุการณ์
ดังนั้น ความน่าจะเป็น = เราสนใจ/ทั้งหมด = 15/36 = 5/12
_________________________________________________________________________________
5. 0,1,2,3,4,5,6,7,8,9 ถ้าสุ่มหยิบตัวเลขขึ้นมา 1 ตัวจากจำนวนดังกล่าว โอกาสที่จะได้ตัวเลขที่เอา 3 ไปหารลงตัวเท่ากับข้อใด (ข้อสอบปี 54)
วิธีคิด
จำนวนเหตุการณ์ทั้งหมด 10
สุ่มหยิบ 1 ครั้ง 3 หารลงตัว มี 3,6,9
จำนวนเหตุการณ์ที่เราสนใจจะมี 3 เหตุการณ์
ดังนั้น ความน่าจะเป็น = เราสนใจ/ทั้งหมด = 3/10
_________________________________________________________________________________
6. 0 เป็นจำนวนชนิดใด (ข้อสอบปี 54)
จำนวนจริงใด ๆ มีจำนวนเต็มอยู่ 3 จำนวน ดังภาพประกอบ
ดังนั้น 0 จึงเป็นจำนวนเต็ม จำนวนตรรกยะ และจำนวนจริง
_________________________________________________________________________________
7. จงหารากที่ 2 ของ 1,936 (ข้อสอบปี 54)
ก.42 ข.44 ค.46 ง.48
วิธีคิด ข้อนี้ใช้ตัวเลขตัวสุดท้ายของตัวเลือกมาคูณตัวมันเอง เช่น ก.42 2x2 = 4 ง.48 8x8 = 64 ซึ่งไม่ตรงกับโจทย์ 1,936
ดังนั้นสามารถตัดตัวเลือกได้ 2 ข้อ คือ ข้อ ก. และ ง.
_________________________________________________________________________________
5. 0,1,2,3,4,5,6,7,8,9 ถ้าสุ่มหยิบตัวเลขขึ้นมา 1 ตัวจากจำนวนดังกล่าว โอกาสที่จะได้ตัวเลขที่เอา 3 ไปหารลงตัวเท่ากับข้อใด (ข้อสอบปี 54)
วิธีคิด
จำนวนเหตุการณ์ทั้งหมด 10
สุ่มหยิบ 1 ครั้ง 3 หารลงตัว มี 3,6,9
จำนวนเหตุการณ์ที่เราสนใจจะมี 3 เหตุการณ์
ดังนั้น ความน่าจะเป็น = เราสนใจ/ทั้งหมด = 3/10
_________________________________________________________________________________
6. 0 เป็นจำนวนชนิดใด (ข้อสอบปี 54)
ดังนั้น 0 จึงเป็นจำนวนเต็ม จำนวนตรรกยะ และจำนวนจริง
_________________________________________________________________________________
7. จงหารากที่ 2 ของ 1,936 (ข้อสอบปี 54)
ก.42 ข.44 ค.46 ง.48
วิธีคิด ข้อนี้ใช้ตัวเลขตัวสุดท้ายของตัวเลือกมาคูณตัวมันเอง เช่น ก.42 2x2 = 4 ง.48 8x8 = 64 ซึ่งไม่ตรงกับโจทย์ 1,936
ดังนั้นสามารถตัดตัวเลือกได้ 2 ข้อ คือ ข้อ ก. และ ง.
_________________________________________________________________________________