- " ความมีเหตุมีผล" เป็นความพอเพียงทางด้านใด
- หลัก ๓ ห่วง ๒ เงื่อนไข ตามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีองค์ประกอบอะไรบ้าง
- ลดรายจ่าย ประหยัด ใช้ของคุ้มค่า มีหลักประกัน และความเพียร
- พอกิน พออยู่ พอใช้ มีเงินออม มีความรู้
- พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว โดยใช้ความรู้ คู่คุณธรรม
- ประมาณตน ใช้ความคิด รู้จักป้ องกันตนเอง ไม่เสี่ยง มีวินัย
- ความพอเพียงทางเทคโนโลยีตามหลักการเศรษฐกิจพอเพียงมีความหมายว่าอย่างไร
- การไม่ใช้เทคโนโลยีในการผลิต
- การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อการผลิต
- การใช้เทคโนโลยีแบบผสมผสาน
- การใช้เทคโนโลยีขั้นสูงเพื่อการผลิต
- การผลิตและการบริโภคในข้อใดเป็นไปตามแนวทางพระราชดำริ "เศรษฐกิจพอเพียง" มากที่สุด
- การบริโภคสินค้า และบริการเฉพาะที่ผลิตในประเทศและเท่าที่มีอยู่ในประเทศ
- การผลิต การบริโภคสินค้า และบริการที่ผลิตขึ้นจากทรัพยากรในประเทศ
- การผลิตเฉพาะสินค้าเกษตรกรรมออกจำหน่ายให้เพียงพอแก่การบริโภคในประเทศ
- การผลิตสินค้าและบริการให้เพียงพอแก่การบริโภคของประชาชนในประเทศ
- ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง การดำเนินชีวิต และการพัฒนาประเทศ ควรยึดหลักใด
- หิริ - โอตตัปปะ
- อิทธิบาท ๔
- มัชฌิมาปฏิปทา
- สังคหวัตถุ ๔
- ผลของการนำหลักความพอเพียงมาใช้คือข้อใด
- ทำให้รวย
- ทำให้เกิดหนี้สิน
- ทำให้พึ่งตนเองได้
- ทำให้อยู่อย่างโดดเดี่ยว
- สหกรณ์ที่ยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จะเป็นอย่างไร
- พัฒนาอย่างมั่นคง ยั่งยืน
- พัฒนาอย่างมั่งคั่ง มั่นคง
- พัฒนาอย่างค่อยเป็นค่อยไป มั่งคั่ง
- พัฒนาให้เศรษฐกิจดี
- ข้อใด มิใช่ การจัดแบ่งพื้นที่การเกษตรตามวิธีการเกษตรทฤษฎีใหม่
- พื้นที่อุตสาหกรรม
- สระน้ำ
- พื้นที่อยู่อาศัย
- พื้นที่ทำไร่ทำสวน
- แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงได้กำหนดไว้ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติฉบับใด
- ฉบับที่ ๘
- ฉบับที่ ๖
- ฉบับที่ ๑๐
- ฉบับที่ ๗
- บุคคลที่ยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจะเป็นอย่างไร
- หลังพิงฝา
- ยืนบนขาตนเองได้
- ทำนาบนหลังคนอื่น
- ยืมจมูกคนอื่นหายใจ
- ทฤษฎีใหม่ หมายถึงอะไร
- หลักการบริหารจัดการที่ดิน และน้ำเพื่อการเกษตร
- หลักการบริหารจัดการด้านอุตสาหกรรมการเกษตร
- หลักการบริหารประเทศแบบใหม่
- หลักการบริหารเศรษฐกิจแบบใหม่
- แนวทางปฏิบัติตนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ข้อใดที่นักเรียนควรยึดเป็นแนวทางในการดำเนินชีวิต
- นำทรัพยากรมาใช้อย่างรู้คุณค่า
- มีความประหยัด ลดความฟุ่มเฟือยในการดำรงชีวิต
- ใช้ความรู้ในการพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่น
- ประกอบอาชีพด้วยความสุจริต
- เศรษฐกิจแบบฟองสบู่เริ่มปรากฏในประเทศไทยเมื่อใด
- ปี พ.ศ. 2539
- ปี พ.ศ. 2540
- ปี พ.ศ. 2537
- ปี พ.ศ. 2538
- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คือข้อใด
- มีเหตุผล มั่นคง ยืนได้ด้วยตนเอง
- มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน พอประมาณ
- พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน
- พอประมาณ สมดุล มีเหตุผล
- หลักการใดไม่ใช่เศรษฐกิจพอเพียง
- การลงทุนขนาดใหญ่เพื่อการผลิตสินค้า
- การสร้างนิสัยนิยมไทย
- การบริการดินและน้ำอย่างเหมาะสม
- การพึ่งตนเองเป็นสำคัญ
- ข้อใดต่อไปนี้ ควรยึดถือเป็นแบบอย่างในการดำรงชีวิตตามหลักการเศรษฐกิจพอเพียงในช่วงภาวะเศรษฐกิจของประเทศตกต่ำ
- นิตยา สั่งจองรถยนต์รุ่นใหม่ที่นำเข้ามาจากยุโรป
- พรรณทิภา สั่งซื้อเครื่องสำอางของต่างประเทศทางอินเตอร์เน็ต
- จันทิมา นั่งรถประจำทางมาทำงานแทนการขับรถส่วนตัว
- สาวิตรี เดินทางไปพักผ่อนต่างประเทศเป็นประจำทุกเดือน
- แนวความคิดเกี่ยวกับระบบเศรษฐกิจพอเพียงเป็นพระราชดำริในพระมหากษัตริย์พระองค์ใด
- พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
- พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
- พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
- พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
- การดำเนินชีวิตอย่างไร จึงจะสอดคล้องกับแนวพระราชดำริเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
- ไม่แก่งแย่งแข่งขันกับใคร
- ไม่ลงทุนทำกิจการ
- ไม่ก่อหนึ้
- เดินทางสายกลาง และพึ่งพาตนเองเป็นสำคัญ
- นายสมศักดิ์ อายุ ๔๕ ปี ถูกบริษัทจ้างให้ออกจากงาน พร้อมทั้งให้เงินสดจำนวนหนึ่ง ถ้านักเรียนเป็นสมศักดิ์ จะทำอย่างไรจึงจะได้ชื่อว่าดำเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
- นำเงินไปฝากธนาคารเพื่อกินดอกเบี้ย
- นำเงินไปลงทุนในตลาดหุ้น
- เปิดร้านขายของชำ
- นำเงินไปซื้อรถใหม่ป้ายแดง
- การมีภูมิคุ้มกันทีดีในตัว หมายถึงอะไร
- ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกิน โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น
- ไม่มีข้อถูก
- การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ
- การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล
- หลักการของเศรษฐกิจพอเพียงข้อใดชัดเจนที่สุด
- การใช้ศักยภาพ
- การรวมตัวกัน
- การพึ่งตนเองเป็นหลัก
- การไม่ลงทุนเกินขนาด
- อัตราส่วนการแบ่งพื้นที่การเกษตรทฤษฎีใหม่ คือข้อใด
- ๓๐ : ๓๐ : ๑๐ : ๓๐
- ๑๐ : ๓๐ : ๓๐ : ๓๐
- ๓๐ : ๓๐ : ๓๐ : ๑๐
- ๓๐ : ๑๐ : ๓๐ : ๓๐
- ความพอเพียงด้านสังคมตามหลักการเศรษฐกิจพอเพียงหมายถึงสิ่งใด
- คนในสังคมไม่ต้องการความช่วยเหลือจากใคร
- สังคมมีความหลากหลาย
- สังคมมีความเข้มแข็ง
- คนในสังคมมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น
- ข้อใดอธิบายถึงแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงได้ถูกต้องที่สุด
- แนวคิดนี้ใช้ได้เฉพาะเกษตรกรเท่านั้น
- ความพอเพียง คือ การรู้จักคิด พอใจกับสิ่งที่ตนมีอยู่
- ความพอเพียง หมายถึง พออยู่ พอกิน พอใช้ และไม่พึ่งพาผู้อื่น
- ความพอเพียง คือ การพอมี พอกินสำหรับตนเอง และครอบครัว
- ในการดำรงชีวิต นักเรียนต้องดำเนินการอย่างไรจึงจะเหมาะสม และดีที่สุด
- การพึ่งบิดามารดา
- การพึ่งตนเอง
- การให้ผู้อื่นช่วยเหลือ
- คอยพระเจ้าประทานให้
- ข้อใด คือความหมายเศรษฐกิจพอเพียงที่สมบูรณ์ที่สุด
- การดำรงชีวิตอย่างสงบ สันโดษ ประหยัด อดออม เพื่อช่วยเหลือเศรษฐกิจของชาติ
- การดำรงชีวิตแบบพึ่งตนเอง ทุกอย่างผลิตขึ้นใช้เองในครอบครัว ไม่มีการซื้อจากตลาด
- การดำรงชีวิตอย่างไม่เดือดร้อน มึความเป็นอยู่อย่างประมาณตน
- การดำรงชีวิตแบบหรูหรา ฟุ่มเฟือย ตามฐานะที่พึงมีพึงได้ของตนโดยไม่เบียดเบียนใคร
- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีเป้าหมาย คือ
- ดำเนินชีวิตได้ทุกวัย
- ดำเนินชีวิตได้ทุกสถานการณ์
- ดำเนินชีวิตได้ทุกประเทศ
- ดำเนินชีวิตได้ทุกสภาพอากาศ
- สาเหตุใดจึงต้องมีการประกาศใช้เศรษฐกิจพอเพียง
- เศรษฐกิจมีการขยายตัวสูงขึ้น
- ปริมาณสินค้าในการบริโภคมากเกินไป
- เกิดภาวะขาดแคลนสินค้าอุปโภคบริโภค
- สินค้าเกษตรมีราคาสูง
- การเกษตรกรรมวิธีใดที่สนับสนุนแนวคิดทฤษฎีใหม่มากที่สุด
- การเกษตรแบบผสมผสาน
- การปลูกพืชหมุนเวียน
- การเลี้ยงปลาในกระชัง
- การปลูกพืชแบบขั้นบันได
- แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับแรกในปีพ.ศ. 2504 เป็นต้นมาไทยมีการเน้นหนักในการ พัฒนาในด้านใด
- การท่องเที่ยว
- การทหาร
- อุตสาหกรรม
- การเกษตร
- เศรษฐกิจพอเพียง ในความหมายระดับประเทศ คือข้อใด
- เน้นการส่งออกมากกว่าบริโภคภายในประเทศ
- ชะลอการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ
- พัฒนาประเทศตามวิถีชีวิตดั้งเดิม
- ผลิตสินค้าและบริการเพื่อเลี้ยงตนเองเป็นสำคัญ
- บุคคลใดปฏิบัติตนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงได้ดีที่สุด
- เบริ์ด ใช้จ่ายอย่างประหยัดปลูกผักไว้รับประทานเอง
- รยารวยและชอบซื้อสินค้าราคาแพง
- สุวนันท์ ประหยัดจนทะเลเรียกแม่
- พัชราภา ขายผักสวนครัวแพงกว่าคนอื่น
- การสร้างความสมดุลของแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงเน้นให้เกิดกับสิ่งใดมากที่สุด
- ความสมดุลของความเจริญทางเทคโนโลยีกับ ภูมิปัญญาไทย
- ความสมดุลระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
- ความสมดุลระหว่างอุตสาหกรรมกับเกษตรกรรม
- ความสมดุลระหว่างสินค้าต่างประเทศกับสินค้าไทย
- การประกอบอาชีพใดเป็นการปฏิบัติตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงที่เหมาะสมที่สุด
- ลูกจ้างในบริษัทเอกชน
- คนขับรถเมล์
- ธุรกิจส่วนตัว
- นวดแผนโบราณ
- จุดกำเนิดของแนวคิดทฤษฎีใหม่ของหลักการเศรษฐกิจพอเพียงเกิดขึ้นในพื้นที่จังหวัดใด
- จังหวัดกาฬสินธ์
- จังหวัดสระบุรี
- จังหวัดเชียงใหม่
- จังหวัดฉะเชิงเทรา
- หลักการของเศรษฐกิจพอเพียงที่สำคัญที่สุด คืออะไร
- การวมกลุ่มของชาวบ้าน
- การพึ่งตนเอง
- ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ และความสามัคคี
- การจัดการ
- สถานการณ์ในปัจจุบัน เกิดวิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจในประเทศ นักศึกษาในฐานะที่เป็นประชาชนคนหนึ่งควรปฏิบัติตนอย่างไร
- ดำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความพากเพียร มีสติปัญญาและรอบคอบ
- ไปอาศัยอยู่กับญาติเพื่อประหยัดเงินพ่อแม่
- พยายามทุกวิถีทางหาเงินมาใช้ให้ได้มากที่สุด
- ถูกทุกข้อที่กล่าวมา
- ความพอประมาณ หมายถึงการกระทำของบุคคลใดมากที่สุด
- ดู๋ ซื้อรถจักรยานยนต์ไว้ใช้เองด้วยน้ำพักน้ำแรงของตนเพื่อขับไปทำงาน
- ดู๋ ซื้อรถจักรยานยนต์ไว้ใช้เองเพื่ออวดสาว
- กุ๊กกู่ ซื้อรถยนต์ด้วยน้ำพักน้ำแรงของตนมา 2 คันขับไปทำงาน
- กุ๊กกู่ ซื้อรถยนต์โดยการผ่อนเพื่อขับไปทำงาน
- กระบวนการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเริ่มต้นจากแนวคิดจากอะไรถึงอะไร
- ประเทศ ชุมชน รายคน
- ประเทศ รายคน ชุมชน
- รายคน ชุมชน ประเทศ
- ชุมชน ประเทศ รายคน
- ข้อใดไม่ใช่คุณลักษณะสำคัญ 3 ประการของความพอเพียง
- ความพอประมาณ
- การเสียสละ
- การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว
- ความมีเหตุผล
- ตามหลักทฤษฎีใหม่ ขั้นตอนสุดท้าย คืออะไร
- การดำเนินธุรกิจระดับชาติ
- การรวมกลุ่มกันเป็นสหกรณ์
- การผลิตที่พึ่งพาตนเอง
- การดำเนินธุรกิจชุมชน
- การประกอบอาชีพตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงมีลักษณะอย่างไร
- การประกอบอาชีพตามความซื่อสัตย์สุจริต
- ประกอบอาชีพที่ตนถนัด
- ประกอบอาชีพตามบรรพบุรุษ
- การประกอบอาชีพทำการเกษตรเท่านั้น
- นักศึกษาสามารถนำหลักการเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการเรียนย่างไร
- ถูกทุกข้อ
- ปฏิบัติตนในลักษณะการพออยู่พอกิน
- ไม่ทำความเดือดร้อนให้บุคคลอื่น
- เน้นการพึ่งพาตนเองเป็นสำคัญ
- เศรษฐกิจพอเพียงเป็นระบบเศรษฐกิจที่ยึดหลักตรงกับสำนวนไทยในข้อใด
- ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน
- ช้าๆ ได้พร้าเล่มงาม
- น้ำขึ้นให้รีบตัก
- เงินคืองานบันดาลสุข
- เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาในการดำรงชีวิตที่สามารถนำมาปฎิบัติได้ในกลุ่มคนใดบ้าง
- ทุกกลุ่มอาชีพ
- ข้าราชการ
- เกษตรกร
- นักเรียน
- ข้อใดเป็นการขาดหลักปฏิบัติตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
- แบ่งที่ดินสร้างอาคารโรงงาน
- การปลูกหญ้าคลุมดิน
- การปลูกพืชหมุนเวียน
- การขุดบ่อเลี้ยงปลาในไร่ปลูกผัก
- บุคคลใดดำเนินแนวทางถูกต้องตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
- นายกวาง ขยันทำมาหากิน รู้จักเก็บออม จนมีเงินให้กู้
- นายกล้วย รู้จักกินรู้จักใช้ จนอยู่ได้ไม่เดือดร้อน
- นายไก่ ขยันทำกิน จนมีเงินใช้จ่ายไม่เดือดร้อน
- นายเก้ง ขยันทำมาหากิน รู้จักเก็บออม ใช้จ่ายอย่างไม่เดือดร้อน
- ความพอประมาณ หมายถึงอะไร
- การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล
- ไม่มีข้อถูก
- ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกิน โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น
- การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ
- ข้อใดคือเป้าหมายสำคัญของเศรษฐกิจพอเพียง
- ความเป็นเอกภาพ
- ความอยู่ดีกินดี
- ความฟุ่มเฟือย
- ความหรูหรา
- ข้อใด มิใช่ หลักการของระบบเศรษฐกิจพอเพียง
- การพึ่งตนเอง
- การรวมกลุ่มของชาวบ้าน
- ความสามัคคี และเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่
- การอยู่อย่างสันโดษ
- เศรษฐกิจพอเพียงมีความเหมาะสมกับผู้ประกอบอาชีพใดมากที่สุด
- เกษตรกร
- ข้าราชการ
- ประชาชนทั่วไป
- นักธุรกิจ
- ทฤษฎีใหม่ในขั้นที่ 2 เป็นการสร้างความเข้มแข็ง ให้แก่ระดับใด
- ระดับครอบครัว
- สร้างความเข้มแข็งให้กับญาติพี่น้อง
- ระดับบุคคล
- ระดับสังคมหรือชุมชน
- แนวทฤษฎีใหม่ให้ความสำคัญกับการจัดการทรัพยากรใดมากที่สุด
- ทรัพยากรน้ำ
- ทรัพยากรมนุษย์
- ทรัพยากรดิน
- ทรัพยากรป่าไม้
__________________________________________________________________________________แบบทดสอบโดย นายปฐมพร ธัมมาภิรัตตระกูล ครู กศน.แขวงบ้านพานถม