รายงานสรุป
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
วันที่ 23 กรกฎาคม - 11 สิงหาคม 2555
ณ ลานกีฬา โรงเรียนวัดใหม่อมตรส
คำนำ
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ เป็นโครงการที่ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตพระนคร จัดทำขึ้นเพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพ อนามัย ทั้งร่างกายและจิตใจ ซึ่งผู้สูงอายุควรได้รับความสนใจดูแลสุขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรง มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น จึงควรออกกำลังกาย ป้องกันการเกิดโรคต่าง ๆ รวมทั้งฟื้นฟูสุขภาพทำให้ผู้สูงอายุมีคุณค่าสามารถทำประโยชน์ให้แก่สังคมและมีความสุขในปั้นปลายชีวิต โดยแสดงถึงประสิทธิภาพของการดำเนินงาน ความก้าวหน้า ปัญหาและอุปสรรคตลอดจนข้อเสนอแนะของผู้ร่วมงาน อันเป็นประโยชน์ต่อหน่วยงาน และผู้รับผิดชอบจะได้นำข้อมูลจากการรายงานฉบับนี้ไปปรับปรุงและพัฒนางานในครั้งต่อไป เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
สุดท้ายนี้ขอขอบคุณผู้อำนวยการ และขอขอบคุณคณะกรรมการฝ่ายประเมินและสรุปผลทุกท่านที่เสียสละเวลา กำลังกาย และกำลังใจ จนทำให้การประเมินโครงการครั้งนี้สำเร็จลุล่วงด้วยดี
คณะผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ผลการประเมินและข้อเสนอแนะที่ได้รวบรวมด้วยความอุตสาหะนี้ นำไปพัฒนาโครงการให้ได้ดังวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ในโอกาสต่อไป
สารบัญ
หน้า
บทคัดย่อ
บทที่ 1 บทนำ
ความเป็นมาของโครงการ
วัตถุประสงค์ของโครงการ
ผู้รับผิดชอบโครงการ
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
บทที่ 2 ระเบียบวิธีการประเมิน
วัตถุประสงค์ของการประเมิน
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูล
บทที่ 3 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
แสดงค่าสถิติพื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม
ผลสรุปความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามต่อกิจกรรม
ข้อเสนอแนะของผู้ตอบแบบสอบถาม
ปัญหาและอุปสรรคที่สำคัญที่ค้นพบในโครงการ
ข้อเสนอแนะ
บทที่ 4 บทสรุปและข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
วัตถุประสงค์ของการประเมินโครงการ
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
รูปแบบการประเมินโครงการ
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินโครงการ
ผลสรุป
อภิปรายผล
ข้อเสนอแนะ
บรรณานุกรม
บทคัดย่อ
1. ชื่อโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
2. ผู้รับผิดชอบโครงการ
1. นางสาวพรทิพย์ สุขสาย
3. ระยะเวลาดำเนินโครงการ
1. ระยะเตรียมการ 1 - 22 กรกฎาคม 2555
2. ระยะดำเนินการ 23 กรกฎาคม - 11 สิงหาคม 2555
3. ระยะประเมินผลโครงการ และ รายงานดำเนินการ 12 - 31 สิงหาคม 2555
4. งบประมาณ
ได้รับจัดสรรงบประมาณเงินแผ่นดิน ประจำปี งบประมาณ 2555 แผนงาน ขยายโอกาสและพัฒนา
การศึกษา ผลผลิตที่ 4 งบดำเนินการ จำนวนเงิน 5,100.- บาท (ห้าพันหนึ่งร้อยบาทถ้วน)
งบประมาณที่ใช้จริงในโครงการ ดังรายการต่อไปนี้
1. ค่าวิทยากร 3,000 บาท
2. ค่าเอกสารประกอบการจัดกิจกรรม 1,500 บาท
3. ค่าป้ายประกอบกิจกรรม 600 บาท
รวม 5,100 บาท
หมายเหตุขอถัวเฉลี่ยจ่ายทุกรายการและจำนวนคน โดยจะเบิกจ่ายตามหลักเกณฑ์และอัตราตามระเบียบของ
ทางราชการ ทั้งนี้ไม่เกินวงเงินที่ได้รับอนุมัติศูนย์บริการวิชาการแก่ชุมชนมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
5. ผลการดำเนินงานในภาพรวม
1) เชิงปริมาณ จำนวนกลุ่มเป้าหมายคาดไว้ 40 คน
2) เชิงคุณภาพ ผู้สูงอายุสามารถดูแลสุขภาพให้แข็งแรง
วิธีการประเมินผล
กลุ่มเป้าหมายที่ร่วมโครงการ ทำแบบประเมินความพึงพอใจ ร่วมโครงการ (รายงานผลตามเอกสารแนบท้าย)
6. ผลที่ได้รับจากการดำเนินงาน
1) มีผู้ร่วมโครงการจำนวนตามที่ได้ตั้งเป้าหมายไว้ โดยผู้ร่วมโครงการเริ่มเต้นอารบิค ตั้งแต่เวลา 18.00 – 19.00 น. ซึ่งวิทยากรเป็นประชาชนในชุมชนวัดใหม่อมตรสด้วย โดยวิทยากรนำเต้นออกกำลังกายเบา ๆ เพื่อเป็นการอบอุ่นร่างกายประมาณ 15 นาที ต่อจากนั้นวิทยาการจะนำเข้าท่ากายบริหารต่างๆ อีก 45 นาที
จากการสังเกตพบว่า ผู้สูงอายุส่วนใหญ่จะเต้นตามวิทยากรได้ เพราะเคยออกกำลังกายประเภทนี้มาหลายครั้งแล้ว แต่ผู้สูงอายุบางท่าน ที่สูงวัยก็จะเต้นท่ากายบริหารง่าย ๆ
กิจกรรม ต้องใช้เวลาอย่างต่ำ 30 -45 นาที เพื่อให้ครบท่ากายบริหารประกอบเพลง
จากผลการสังเกตพฤติกรรมผู้สูงอายุในการร่วมกิจกรรม และจากการสุ่มแบบสำรวจความพึงพอใจ
ผู้ร่วมโครงการมีพึงพอใจในกิจกรรมนี้มาก เพราะ ได้ออกกำลังกายและได้พบปะพูดคุยกัน (มากกว่าร้อยละ 80) และอยากให้มีกิจกรรมเช่นนี้อีกในปี ต่อไป
2) กิจกรรมนี้ถือเป็นกิจกรรมที่ทำให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพที่ดีขึ้น เน้นการสร้างนิสัยการออกกำลังกายทุกวัน
7. ปัญหาและอุปสรรค
1) ถ้าผู้เข้าร่วมโครงการมามากกว่าจำนวนที่ตั้งไว้ อาจจะทำให้การเต้นติดขัดบ้าง เพราะสถานที่จัดโครงการคับแคบ
2) เพลงประกอบการออกกำลังกายไม่มีการปรับเปลี่ยนให้ทันสมัย อาจทำให้ผู้ร่วมโครงการเบื่อได้
8. ข้อเสนอแนะ
1) ในปี ต่อไปควรเสนอขอพื้นที่เต็นท์กิจกรรมเพิ่มให้กว้างขวางขึ้น
9. ภาคผนวก รายงานผลการดำเนินงาน ประกอบด้วย
9.1 วิธีการดำเนินงาน
ขั้นตอนการดำเนินงาน
1. ประชุมคณะทำงาน เพื่อหารือรูปแบบโครงการ และมอบหมายหน้าที่ความรับผิดชอบ
2.จัดหาวิทยากรและสถานที่ จัดหาอุปกรณ์ เช่น เพลงประกอบ
3. จัดโครงการตามวัน เวลาที่กำหนด
4. สรุปและประเมินผลโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
รายงานสรุปโครงการ กิจกรรมโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ วันที่ 23 กรกฎาคม - 11 สิงหาคม 2555 ณ ลานกีฬา โรงเรียนวัดใหม่อมตรส
9.2 ผลการดำเนินงานตามวัตถุประสงค์และตัวชี้วัดของโครงการ
ผลการดำเนินงานมีความสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ดังนี้
มาตรฐานที่ 3 การพัฒนาหลักสูตรและโปรแกรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาอาชีพ ทักษะชีวิตและพัฒนาสังคมและชุมชน
ตัวบ่งชี่ที่ 3.5 คุณภาพของผู้เรียน/ผู้รับบริการ
มาตรฐานที่ 4 การจัดการศึกษาตามอัธยาศัย
ตัวบ่งชี่ที่ 4.1 คุณภาพของการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย
มาตรฐานที่ 6 การทำงานร่วมกับภาคีเครือข่าย
ตัวบ่งชี่ที่ 6.1 การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
และ ตัวบ่งชี่ที่ 6.2 การสนับสนุนให้ภาคีเครือข่ายจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
การมีส่วนร่วมรับผิดชอบการในโครงการ
1. นายอานนท์ ปักกาโล
2. นายปฐมพร ธัมมาภิรัตตระกูล
ความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ประจำปีงบประมาณ 2555 พบว่ามีจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมมากกว่าที่คาดไว้และผลสำรวจความพึงพอใจเพิ่มขึ้นอยู่ในเกณฑ์ดีมาก และมีความต้องการให้จัดโครงการและกิจกรรมอีกอย่างต่อเนื่อง จึงได้จัดโครงการในปี พ.ศ. 2555 ครั้งนี้ และ ผลสำรวจกลุ่มเป้าหมายแสดงว่าในปี ต่อ ๆ ไป ก็ยังต้องการกิจกรรมรูปแบบนี้อีก
บทที่ 1
บทนำ
1. ความเป็นมาของโครงการ
เนื่องจากจำนวนและสัดส่วนประชากรสูงอายุมีมีการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จำนวนผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้นนี้ทำให้ผ้สูงอายุมีผลกระทบจากการเสื่อมถ้อยของร่างกาย เป็นภาระแก่ผู้ดูแล ผู้สู.อายุจึงควรให้ความสนใจดูแลสุขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรงมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น จึงควรมีการออกกำลังกาย ป้องกันการเกิดโรคต่าง ๆ รวมทั้งฟื้นฟูสุขภาพให้ปลอดภัยจากโรคภัยไข้เจ็บด้วย
กศน.แขวงวัดราชบพิธ จึงมีความประสงค์ ดำเนินการโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
2. วัตถุประสงค์ของโครงการ
เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพ อนามัยดีทั้งร่างกายและจิตใจ ทุกเพศ ทุกวัย เป็นบุคคลที่มีวินัย เปี่ยมด้วย คุณธรรม จริยธรรม มีจิตสำนึกรับผิดชอบต่อตนเอง ผู้อื่น สังคม ส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือในการดำเนินงานร่วมกับภาคีเครือข่าย พัฒนาศักยภาพของตนเองในด้านต่าง ๆ
3. ผู้รับผิดชอบโครงการ
1. นางสาวพรทิพย์ สุขสาย
2. นายอานนท์ ปักกาโล
3. นายปฐมพร ธัมมาภิรัตตระกูล
4. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
ผู้สูงอายุในชุมชนมีสุขภาพกาย สุขภาพจิต ที่ดี
ผู้สูงอายุได้พบปะ เพิ่มความสามัคคี
บทที่ 2
ระเบียบวิธีการประเมิน
1. วัตถุประสงค์ของการประเมิน
1.1 เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของการดำเนินงานตามโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ประจำปีงบประมาณ 2555
1.2 เพื่อศึกษาความก้าวหน้า ปัญหา อุปสรรค ในการดำเนินงานตามโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ประจำปีงบประมาณ 2555
1.3 เพื่อนำเสนอข้อมูลที่ได้รับจากการประเมินครั้งนี้ ไปปรับปรุงและพัฒนางานให้เกิดประโยชน์ต่องานที่รับผิดชอบ และหน่วยงานให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
2. เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
แบบสอบถาม โดยแบ่งการประเมินออกเป็น 3 ตอน คือ
ตอนที่ 1 เป็นข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
ตอนที่ 2 เป็นข้อมูลแสดงพึงพอใจของผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน 7 ข้อ
สำหรับคำถามแต่ละข้อได้ใช้มาตราประมาณค่า (Rating Scales) โดยประเมินเป็น 5 ระดับคือ
มากที่สุด/เห็นด้วยอย่างยิ่ง เท่ากับ 5 คะแนน
มาก/เห็นด้วย เท่ากับ 4 คะแนน
ปานกลาง/พอใช้ เท่ากับ 3 คะแนน
น้อย/ไม่เห็นด้วย เท่ากับ 2 คะแนน
น้อยที่สุด/ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง เท่ากับ 1 คะแนน
ตอนที่ 3 เป็นข้อเสนอแนะของผู้ตอบแบบสอบถาม เป็นข้อคำถามแบบปลายเปิด เพื่อให้
ผู้เกี่ยวข้องในโครงการนี้ได้แสดงความคิดเห็นเพื่อเติม อันอาจจะเป็นประโยชน์ต่อผู้เขียนรายงานฉบับนี้ได้ชัดเจนและสมบูรณ์ยิ่งขึ้น
สำหรับแบบสอบถามดังกล่าว ได้ผ่านการตรวจสอบและเห็นชอบจากผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 3 ท่านดังรายนามต่อไปนี้
1. นางสาวสมใจ จินตนาผล ผู้อำนวยการ กศน.เขตพระนคร
2. นางสุดารัตน์ เรืองรัตน์ ครู คศ.3
3. นางสาววรลักษณ์ สิโรมกุล ครูอาสาสมัคร กศน.
3. การวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูล วิเคราะห์จากแบบสอบถามเป็นหลัก โดย ตอนที่ 1 และ 2 ใช้การคำนวณหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ตอนที่ 3 เป็นข้อมูลเสนอแนะจากผู้ตอบแบบสอบถาม ใช้การเขียนเชิงพรรณนา และเพื่อให้รายงานฉบับนี้มีความชัดเจนมากขึ้นยิ่งขึ้น ผู้รายงานจึงได้วิเคราะห์จากเอกสารที่เกี่ยวข้องกับโครงการ รวมทั้งวิเคราะห์จากปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นการคำนวณ
บทที่ 3
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
เพื่อความสะดวกในการอ่านผลการสรุปการวิเคราะห์ข้อมูลเรียงตามลำดับ ดังนี้
ตอนที่ 1 แสดงค่าสถิติพื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม
ตอนที่ 2 แสดงค่าสถิติพื้นฐาน ในการวิเคราะห์ข้อมูล จำนวน 7 ข้อ
2.1 ที่ตั้งและพื้นที่ทำการของห้องออกกำลังกาย
2.2 ความเพียงพอของจำนวน/ชนิดอุปกรณ์การออกกำลังกาย
2.3 ความเพียงพอ/ความพร้อมของอุปกรณ์สันทนาการ เช่น TV , เครื่องเสียงและ
มุมพักผ่อน
2.4 ระยะเวลาของการออกกำลังกายให้บริการ ตั้งแต่เวลา 17.00 – 18.00 น.
2.5 การให้บริการของครูออกกำลังกาย
2.6 ความพอเพียงของสถานที่
2.7 ความพอเพียงของน้ำดื่ม
ตอนที่ 3 แสดงผลการให้ข้อเสนอแนะของผู้ตอบแบบสอบถาม คณะครูและบุคลากรทางการ-ศึกษา และนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ประจำปีงบประมาณ 2555
1. แสดงค่าสถิติพื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม
กลุ่มเป้าหมายของผู้ตอบแบบสอบถาม คณะครูและบุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ประจำปีงบประมาณ 2555 ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตพระนคร จำนวน 40 คน จากการสุ่มลำดับ จำแนกตามลำดับชั้น
ตารางที่ 1 แสดงค่าร้อยละของสถานสภาพทั่วไป ของคณะครูและบุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนที่ตอบแบบสอบถาม
ที่
|
รายการ
|
ความถี่
|
ร้อยละ
|
1
|
เพศ
| ||
ชาย
|
4
|
10
| |
หญิง
|
36
|
90
| |
2
|
อายุ
| ||
ต่ำกว่า 15 ปี
|
0
|
0
| |
16 – 25 ปี
|
0
|
0
| |
26 – 35 ปี
|
3
|
7.5
| |
36 – 50 ปี
|
16
|
40
| |
51 ปีขึ้นไป
|
21
|
52.5
| |
3
|
ระดับการศึกษา
| ||
ประถมศึกษา
|
18
|
45
| |
มัธยมศึกษาตอนต้น
|
12
|
30
| |
มัธยมศึกษาตอนปลาย
|
4
|
10
| |
ปวช.
|
4
|
10
| |
ปวส.
|
1
|
2.5
| |
ปริญญาตรี
|
1
|
2.5
| |
ปริญญาโท
|
0
|
0
| |
ปริญญาเอก
|
0
|
0
| |
อื่น ๆ
|
0
|
0
| |
4
|
อาชีพ
| ||
แม่บ้าน
|
16
|
40
| |
ค้าขาย
|
20
|
50
| |
รับราชการ
|
2
|
5
| |
อื่น ๆ
|
2
|
5
| |
5
|
ท่านออกกำลังกาย
| ||
น้อยกว่า 2 ครั้ง/สัปดาห์
|
9
|
22.5
| |
3 – 5 ครั้ง/สัปดาห์
|
27
|
67.5
| |
มากกว่า 5 ครั้ง/สัปดาห์
|
0
|
0
| |
น้อยกว่า 10 ครั้ง/ปี
|
4
|
10
|
จากตารางสรุปได้ว่า
1. ผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ 10 เป็นเพศชาย และร้อยละ 90 เป็นเพศหญิง
2. ไม่มีผู้เข้าร่วมโครงการที่ อายุ ต่ำกว่า 15 ปี 16 – 25 ปี ผู้เข้าร่วมโครงการที่ อายุ 26 – 35 ปี มี 3 คน คิดเป็นร้อยละ 7.5 ผู้เข้าร่วมโครงการที่ อายุ 36 – 50 ปี 16 คน คิดเป็นร้อยละ 40 ผู้เข้าร่วมโครงการที่ อายุ 51 ปีขึ้นไป 21 คน คิดป็นร้อยละ 52.5
3. ผู้เข้าร่วมโครงการที่มี ระดับการศึกษา ประถมศึกษา 18 คน คิดเป็นร้อยละ 45 ผู้เข้าร่วมโครงการที่มี ระดับการศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น 12 คน คิดเป็นร้อยละ 30 ผู้เข้าร่วมโครงการที่มี ระดับการศึกษา มัธยมศึกษาตอนปลาย 4 คน คิดเป็นร้อยละ 10 ผู้เข้าร่วมโครงการที่มี ระดับการศึกษา ปวช. 4 คน คิดเป็นร้อยละ 10 ผู้เข้าร่วมโครงการที่มี ระดับการศึกษา ปวส. 1 คน คิดเป็นร้อยละ 2.5 ผู้เข้าร่วมโครงการที่มี ระดับการศึกษา ปริญญาตรี 1 คน คิดเป็นร้อยละ 2.5 ผู้เข้าร่วมโครงการที่มี ระดับการศึกษา ปริญญาโท ปริญญาเอก และ อื่น ๆ ไม่มี
4. ผู้เข้าร่วมโครงการที่มีอาชีพแม่บ้าน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 40 ผู้เข้าร่วมโครงการที่มีอาชีพค้าขาย 20 คน คิดเป็นร้อยละ 50 ผู้เข้าร่วมโครงการที่มีอาชีพรับราชการ 2 คน คิดเป็นร้อยละ 5 ผู้เข้าร่วมโครงการที่มีอาชีพอื่น ๆ 2 คน คิดเป็นร้อยละ 5
5. ผู้เข้าร่วมโครงการที่ออกกำลังกาย น้อยกว่า 2 ครั้ง/สัปดาห์ 9 คน คิดเป็นร้อยละ 22.5 ผู้เข้าร่วมโครงการที่ออกกำลังกาย 3 – 5 ครั้ง/สัปดาห์ 27 คน คิดเป็นร้อยละ 67.5 ผู้เข้าร่วมโครงการที่ออกกำลังกาย มากกว่า 5 ครั้ง/สัปดาห์ ไม่มี ผู้เข้าร่วมโครงการที่ออกกำลังกาย น้อยกว่า 10 ครั้ง/ปี 4 คน คิดเป็นร้อยละ 10
2. ผลสรุปความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามต่อกิจกรรม
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุประจำปีงบประมาณ 2555
ตารางที่ 2 แสดงค่าสถิติพื้นฐาน ในการวิเคราะห์ข้อมูล จำนวน 7 ข้อ
ข้อที่
|
รายการประเมิน
|
ร้อยละระดับความคิดเห็น
| ||||||
5
|
4
|
3
|
2
|
1
|
SD
| |||
1
|
ที่ตั้งและพื้นที่ทำการของห้องออกกำลังกาย
| |||||||
2
|
ความเพียงพอของจำนวน/ชนิดอุปกรณ์การออกกำลังกาย
| |||||||
3
|
ความเพียงพอ/ความพร้อมของอุปกรณ์สันทนาการ เช่น TV , เครื่องเสียงและมุมพักผ่อน
| |||||||
4
|
ระยะเวลาของการออกกำลังกายให้บริการ ตั้งแต่เวลา 17.00 – 18.00 น.
| |||||||
5
|
ให้บริการของครูออกกำลังกาย
| |||||||
6
|
ความพอเพียงของสถานที่
| |||||||
7
|
ความรู้ที่ได้รับจากการจัดกิจกรรม
|
จากการประเมินระดับความคิดเห็นในการจัดโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ประจำปีงบประมาณ 2555
สรุปได้ว่า ........................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
3. ข้อเสนอแนะของผู้ตอบแบบสอบถาม
ในการเข้าร่วมโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุประจำปีงบประมาณ 2555 มี ข้อเสนอแนะในเรื่องต่างๆ จากผู้เข้าร่วมโครงการ ดังนี้
ต้องการให้ กศน. จัดโครงการที่มีประโยชน์แบบโครงการนี้ขึ้นมาอีก
4. ปัญหาและอุปสรรคที่สำคัญที่ค้นพบในโครงการ
การปฏิบัติงานตามโครงการนี้ จากการสังเกตและการประเมินผลที่เกิดขึ้นจริงในระหว่างการทำงานพบปัญหาและอุปสรรคที่สำคัญดังนี้
1) ผู้รับผิดชอบโครงการ ได้ย้ายไปปฏิบัติราชการที่จังหวัดบุรีรัมย์
2) ถ้าผู้เข้าร่วมโครงการมามากกว่าจำนวนที่ตั้งไว้ อาจจะทำให้การเต้นติดขัดบ้าง เพราะสถานที่จัดโครงการคับแคบ
3) เพลงประกอบการออกกำลังกายไม่มีการปรับเปลี่ยนให้ทันสมัย อาจทำให้ผู้ร่วมโครงการเบื่อได้
5. ข้อเสนอแนะ
1) ในปีต่อไป ควรเสนอขอพื้นที่เต็นท์กิจกรรมเพิ่มให้กว้างขวางขึ้น
บทที่ 4
บทสรุปและข้อเสนอแนะ
การดำเนินการจัดโครงการผู้สูงอายุ ประจำปีงบประมาณ 2555 ผู้รายงานขอเสนอเป็น 2 ส่วนคือ ส่วนที่ 1 บทสรุปที่แสดงถึงประสิทธิภาพของการเข้าร่วมกิจกรรมว่าอยู่ในระดับความคิดเห็นใด บรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการหรือไม่ ส่วนที่ 2 ข้อเสนอแนะที่ผู้รายงานได้นำเสนอข้อมูลหรือข้อคิดเห็นที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนางานอื่นๆในหน่วยงานให้บรรลุตามเป้าหมายที่ได้กำหนดไว้อย่างชัดเจน
1. บทสรุป
1.1 โครงการผู้สูงอายุ ประจำปีงบประมาณ 2555 บรรลุวัตถุประสงค์ ตามที่ผู้รายงานได้ตั้งไว้ทุกประการ
1.2 ประสิทธิภาพของการดำเนินงานปรากฏผลดังนี้
1.2.1 ประสิทธิภาพของการจัดงานอยู่ในระดับ............
ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ที่.................
1.2.2 ความรู้และประโยชน์ที่ได้รับอยู่ในระดับ............
ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ที่................
1.2.3 ส่งเสริมให้นักเรียนแสดงความสามารถ มีความคิดสร้างสรรค์อยู่ในระดับ............ ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ที่.................
1.2.4 ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการอยู่ในระดับ............ ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ที่.................
1.2.5 ปัญหาและอุปสรรคที่ค้นพบในการดำเนินงานตามโครงการ
คือ...............................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
2. ข้อเสนอแนะ
..........................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
ภาคผนวก