หน้าเว็บ

วิสัยทัศน์ กศน.แขวงบ้านพานถม เรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ ก้าวทันเทคโนโลยี



นโยบายและจุดเน้นการดําเนินงาน สํานักงาน กศน.

นโยบายและจุดเนนการดําเนินงาน สํานักงาน กศน.
ประจําปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕

--------------------------------------------------------------------
วิสัยทัศน
คนไทยไดรับการศึกษาตลอดชีวิตและการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทําที่มีคุณภาพ
อยางทั่วถึง และเทาเทียมกัน เพื่อใหเกิดสังคมฐานความรู และการมีอาชีพอยางยั่งยืน
พันธกิจ
๑. จัดและสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใหมีคุณภาพ
๒. จัดและสงเสริมการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทําเพื่อพัฒนาสมรรถนะของ
ประชาชนและชุมชนใหสามารถสรางสรรคและแขงขันดานอาชีพไดอยางยั่งยืน
๓. สงเสริมการมีสวนรวมของภาคีเครือขายทั้งในและตางประเทศในการดําเนินงาน
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อสงเสริมการศึกษาตลอดชีวิตและการศึกษา
เพื่อการมีงานทํา
๔. พัฒนาและสงเสริมการนําวิทยาศาสตรเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา และเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสาร มาใชใหเกิดประสิทธิภาพตอการจัดการศึกษาตลอดชีวิตและ
การศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทํา
๕. พัฒนาบุคลากรและระบบการบริหารจัดการใหสามารถดําเนินงานการศึกษานอก
ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเพื่อสงเสริมการศึกษาตลอดชีวิตและการศึกษาเพื่อการมีงาน
ทําของประชาชนไดอยางมีประสิทธิภาพ


นโยบายเรงดวน
๑. การเยียวยาและฟนฟูหลังวิกฤตอุทกภัย
๑.๑ ใหขอมูล ขาวสาร และความรูเพื่อการปองกันภัยพิบัติ การจัดการแกปญหาใน
กรณีที่ประสบภัยพิบัติ สําหรับประชาชนอยางทั่วถึง
๑.๒ จัดกิจกรรมการศึกษาเพื่อฟนฟูสภาพจิตใจและเสริมสรางสมรรถนะในการ
ประกอบอาชีพ ใหประชาชนสามารถนําไปใชประโยชนไดทันทีทั้งในการพัฒนาอาชีพเดิม การ
แสวงหาอาชีพเสริม และการสรางอาชีพใหม รวมทั้งการเตรียมความพรอมใหกับแรงงานเพื่อสง
เขาสูระบบการผลิตอุตสาหกรรมตามเดิม
๑.๓ สํารวจและจัดทําฐานขอมูลความเสียหายที่ เกิดขึ้นกับหน วยงานและ
สถานศึกษาในสังกัดเพื่อขอรับการสนับสนุนในการซอมแซมและฟนฟูใหมีความพรอมสําหรับ
ใหบริการประชาชนตอไป
๑.๔ ใหมีการเตรียมความพรอมในทุกพื้นที่ที่อาจประสบภัยในลักษณะอื่นใดดวย
อาทิ วาตภัย ดินถลม อัคคีภัย ภัยจากอากาศหนาว ภัยแลง โดยจัดใหมีการจัดทําแผนสํารอง
ภาวะฉุกเฉินและมีการซอมการดําเนินงานตามแผนอยางเปนระบบตอเนื่อง เพื่อลดความเสี่ยงที่
อาจเกิดจากภัยตางๆ
๑.๕ เรงจัดบริการเพื่อเยียวยาและแกไขปญหาเฉพาะหนาของประชาชนโดยจัดหา
อาหาร เครื่องดื่ม เครื่องดํารงชีพขั้นพื้นฐาน และที่พักอาศัยชั่วคราวใหกับผูประสบภัย
๒. การจัดตั้งศูนยฝกอาชีพชุมชน
๒.๑ เรงเสนอจัดตั้งคณะกรรมการศูนยฝกอาชีพชุมชนจังหวัดในทุกจังหวัด โดยมี
ผูอํานวยการสํานักงาน กศน.จังหวัดเปนกรรมการและเลขานุการคณะกรรมการ เพื่อเปนกลไก
ในการกําหนดทิศทาง อํานวยการ กํากับ ติดตาม ประเมินผล สงเสริมสนับสนุนและบูรณาการ
การดําเนินงานการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทําของศูนยฝกอาชีพชุมชนของจังหวัด
๒.๒ เรงสํารวจและวิเคราะหขอมูลเชิงลึกเกี่ยวกับความตองการดานการศึกษา
อาชีพเพื่อการมีงานทําของประชาชน ความตองการดานแรงงาน สินคา และบริการ รวมทั้ง
ศักยภาพของพื้นที่ ทั้ง ๕ ดาน กล าวคือ ศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติในแต ละพื้นที่
ศักยภาพของพื้นที่ตามลักษณะภูมิอากาศ ศักยภาพของภูมิประเทศและทําเลที่ตั้งของแตละ
พื้นที่ ศักยภาพของศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณีและวิถีชีวิตของแต ละพื้นที่ และศักยภาพของ
ทรัพยากรมนุษยในแต ละพื้นที่ เพื่ อนํามากําหนดหลักสูตรอาชีพตาม ๕ กลุ มอาชีพหลัก


กลาวคือ เกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม ความคิดสรางสรรค และบริหารจัดการและ
บริการ
๒.๓ เรงพัฒนาและจัดทําหลักสูตรการศึกษาอาชีพใหสอดคลองกับความตองการ
ของผูเรียน ความตองการของตลาด และศักยภาพของพื้นที่ โดยมีเปาหมายเพื่ อใหการจัด
การศึกษาอาชีพแนวใหม เปนการจัดการศึกษาที่สามารถสรางอาชีพหลัก ที่มั่นคงใหกับผูเรียน
โดยสามารถสรางรายไดไดจริงทั้งในระหว างเรียนและสําเร็จการศึกษาไปแลว และสราง
ความสามารถเชิงการแขงขันใหกับชุมชน
๒.๔ จัดใหมีศูนยฝกอาชีพในทุกอําเภออย างนอยอําเภอละ ๒ แห ง เพื่ อเปน
ศูนยกลางในการฝก พัฒนา สาธิต และสรางอาชีพของผูเรียนและชุมชน รวมทั้งเปนที่จัดเก็บ
แสดง จําหนาย และกระจายสินคาและบริการของชุมชนอยางเปนระบบครบวงจร
๒.๕ ประสานการดําเนินงานกับศูนยฝกอาชีพชุมชนของหนวยงานและสถานศึกษา
ตางๆ ในพื้นที่ เพื่ อเชื่อมโยงเปนเครือข ายการฝกและสรางอาชีพของประชาชนและชุมชนใน
จังหวัด กลุมจังหวัด และระหวางจังหวัด
๒.๖ จัดใหมีระบบการประสานงานเพื่อสนับสนุนใหผูเรียนสามารถเขาถึงแหลงทุน
ตางๆ สําหรับเปนชองทางในการเสริมสรางความเขมแข็งและการพัฒนาขีดความสามารถในการ
แขงขันดานอาชีพอยางตอเนื่องใหกับผูเรียน
๒.๗ จัดใหมีการกํากับ ติดตาม และรายงานผลการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมี
งานทําอยางเปนระบบตอเนื่อง พรอมทั้งนําผลที่ไดมาใชในการพัฒนาคุณภาพการดําเนินงานให
เปนไปตามความตองการดานการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทําของประชาชน ความตองการของ
ตลาด และศักยภาพของพื้นที่ทั้ง ๕ ดาน
๓. เร งรัดจัดการศึกษานอกระบบตั้งแต แรกเกิดจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เพื่อยกระดับการศึกษาใหกับประชาชน
๓.๑ เรงพัฒนาหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มุงเนน
ใหผูเรียนสามารถนําสาระการเรียนรูและวิธีการเรียนรูไปใชประโยชนไดจริงในการพัฒนา
คุณภาพชีวิตโดยรวม และสรางเสริมสมรรถนะการประกอบอาชีพที่สามารถสรางรายไดอยาง
มั่นคง
๓.๒ เร งพัฒนาตําราเรียนการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานใหมี
เนื้อหาสาระการเรียนรูที่ทันสมัย ครอบคลุมตามโครงสรางหลักสูตร นําไปใชประโยชนไดจริง ได
มาตรฐานทั้งความรูสากลและภูมิปญญาทองถิ่ น โดยจัดทําในรูปแบบสื่ อเอกสารและสื่ อ
อิเล็กทรอนิกส ที่มีคุณภาพ และเผยแพรใหสถานศึกษาในสังกัดอยางทั่วถึง

๓.๓ สงเสริมใหกศน.อําเภอทุกแหงดําเนินการเทียบโอนความรูและประสบการณ
รวมทั้งผลการเรียนอยางเปนระบบ ไดมาตรฐานสอดคลองกับหลักสูตร เพื่อการขยายโอกาสทาง
การศึกษาใหกับประชาชนอยางกวางขวาง
๓.๔ พัฒนาระบบการประเมินเพื่อเทียบระดับการศึกษาที่มีความโปรงใส ยุติธรรม
ตรวจสอบได มีมาตรฐานตามที่กําหนด และสามารถตอบสนองความตองการของกลุมเปาหมาย
อยางมีประสิทธิภาพ
๔. เรงรัดการจัดระบบความรูสําหรับประชาชน
๔.๑ รณรงคสงเสริมใหครอบครัว ชุมชน และสังคม ตระหนักถึงความสําคัญของ
การอานเพื่อเปนวิธีการในการแสวงหาความรูตอเนื่องตลอดชีวิต
๔.๒ เร งพัฒนาความรูความสามารถของผูเรียนและประชาชนใหสามารถอานได
อยางมีประสิทธิภาพ
๔.๓ พัฒนาหนังสือและสื่อที่มีเนื้อหาสาระจากภูมิปญญาทองถิ่น และหนังสือดีมี
คุณภาพในการพัฒนาความรูสําหรับประชาชนในชุมชน


นโยบายตอเนื่อง
๑.  นโยบายดานการศึกษานอกระบบ
๑.๑ จัดการศึกษานอกระบบตั้งแตแรกเกิดจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน
๑) ดําเนินการใหผูเรียนการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานไดรับ
การสนับสนุนคาจัดซื้อตําราเรียน คาจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเรียน และคาเล าเรียนอยาง
ทั่วถึง เพื่อเพิ่มโอกาสในการรับการศึกษาที่มีคุณภาพโดยไมเสียคาใชจาย
๒) จัดหาตําราเรียนการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีคุณภาพ
ตามที่สํานักงาน กศน. ใหการรับรองคุณภาพใหทันตอความตองการของผูเรียน พรอมทั้งจัดใหมี
ระบบหมุนเวียนตําราเรียน เพื่ อเปดโอกาสใหผูเรียนทุกคนสามารถเขาถึงการใชบริการตํารา
เรียนอยางเทาเทียมกัน
๓) ขยายการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานที่ มีคุณภาพใหกับประชากรวัยแรงงาน
ที่ไมจบการศึกษาภาคบังคับและไมอยูในระบบโรงเรียน โดยเฉพาะผูดอยโอกาสกลุมตางๆ
๔) พัฒนาระบบฐานขอมูลรวมของนักศึกษา กศน.ใหมีความครบถวน ถูกตอง
ทันสมัย และเชื่ อมโยงกันทั่ วประเทศ สามารถสืบคนและสอบทานไดทันความตองการ
เพื่อประโยชนในการจัดการศึกษาใหกับผูเรียน
๕) จัดใหมีวิธีการเรียนรูที่เนนการฝกปฏิบัติจริงเพื่ อใหผูเรียนมีความรู ความ
เขาใจและเจตคติที่ดีตอการเรียนรู รวมทั้งสามารถพัฒนาทักษะเกี่ยวกับสาระและวิธีการเรียนรู
ที่สามารถนําไปประยุกตใชไดอยางมีประสิทธิภาพ
๑.๒ การสงเสริมการรูหนังสือ
๑) พัฒนาระบบฐานขอมูลผูไมรูหนังสือทั้งในระดับพื้นที่และสวนกลางใหมี
ความครบถวน ถูกตอง ทันสมัย และเปนระบบเดียวกัน
๒) พัฒนาหลักสูตร สื่อ แบบเรียน เครื่องมือวัดผล และเครื่องมือการดําเนินงาน
สําหรับผูไมรูหนังสือใหสอดคลองกับสภาพของแตละกลุมเปาหมาย
๓) เพิ่มศักยภาพครู กศน.และภาคีเครือขายที่รวมจัด ใหมีความรู ความสามารถ
และทักษะการจัดกระบวนการเรียนรูใหกับผูไมรูหนังสืออยางมีประสิทธิภาพและมีคุณภาพ
๔) มุ งเนนใหสถานศึกษาจัดกิจกรรมส งเสริมการรูหนังสือ การคงสภาพการ
รูหนังสือ การพัฒนาทักษะการรูหนังสือ และการพัฒนาทักษะดานคอมพิวเตอรพื้นฐานเพื่ อ
สงเสริมการรูหนังสือ สําหรับใหประชาชนไดนําไปใชเปนเครื่องมือในการศึกษาและเรียน


๕) พัฒนาระบบการประเมินผลระดับการรูหนังสือใหมีมาตรฐานเปนที่ยอมรับ
ในระดับประเทศ
๑.๓ การศึกษาตอเนื่อง
๑) มุงจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทําอยางยั่งยืน โดยใหความสําคัญกับ
การจัดการศึกษาอาชีพเพื่ อการมีงานทํา ใน ๕ กลุ มอาชีพ ประกอบดวย อาชีพเกษตรกรรม
อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม ความคิดสรางสรรค และกลุ มอํานวยการและอาชีพเฉพาะทาง
ที่สอดคลองกับศักยภาพของแตละพื้นที่ เพื่อใหผูเรียนสามารถนําความรูความสามารถ เจตคติที่
ดีตอการประกอบอาชีพและทักษะที่พัฒนาขึ้นไปใชประโยชนและสรางรายไดไดจริง
๒) มุงจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตใหกับทุกกลุมเปาหมาย โดยจัด
กิจกรรมการศึกษาที่มุงเนนใหทุกกลุมเปาหมายมีความรูความสามารถในการจัดการชีวิตของ
ตนเองใหอยูในสังคมไดอยางมีความสุข รวมทั้งการใชเวลาวางใหเปนประโยชนตอตนเอง
ครอบครัว และชุมชน
๓) มุงจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชนโดยใชรูปแบบการฝกอบรม
การประชุมสัมมนา การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู  และรูปแบบอื่นๆ ที่เหมาะสมกับ
กลุมเปาหมาย โดยเนนการสรางจิตสํานึกความเปนประชาธิปไตย ความเปนพลเมืองดี
เศรษฐกิจชุมชน การอนุรักษพัฒนาธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และการรองรับการเปดเสรี
ประชาคมอาเซียน และหลักสูตรเชิงบูรณาการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนตามแนวทางเศรษฐกิจ
พอเพียง
๔) พัฒนาระบบคลังหลักสูตรการศึกษาตอเนื่องใหไดมาตรฐาน และสะดวกตอ
การใชงานเพื่อสนับสนุนการจัดการศึกษาของสถานศึกษาและภาคีเครือขาย
๑.๔ การพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน
๑) เรงรัดพัฒนาคุณภาพผูเรียนใหมีคุณลักษณะที่พึงประสงคตามจุดมุงหมายและ
มาตรฐานของหลักสูตร
๒) พัฒนาครูและผูที่เกี่ยวของใหสามารถจัดการเรียนรูไดอยางมีคุณภาพ
โดยสงเสริมใหมีความรูความสามารถในการจัดทําแผนการเรียนการสอน การจัดกระบวนการ
เรียนรูและการวัดและประเมินผล
๓) สงเสริมการพัฒนาหลักสูตรทองถิ่น และกิจกรรมการเรียนรูที่หลากหลาย
สอดคลองกับความตองการและสภาพของกลุมเปาหมาย
๔) สงเสริมการพัฒนาสื่อแบบเรียน สื่ออิเล็กทรอนิกส และสื่ออื่นๆ ประกอบ
หลักสูตรโดยการมีสวนรวมของทั้งภาครัฐและเอกชน
๕) สงเสริมการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อสงเสริมการศึกษาตลอด
ชีวิตที่หลากหลายสอดคลองกับสภาพ และความตองการของกลุมเปาหมายและชุมชน
๖) มุงเนนใหกลุมเปาหมายที่ลงทะเบียนเรียนไดเรียนในรูปแบบที่เหมาะสมกับ
สภาพและความตองการของตนเอง โดยมีอัตราการคงอยูไมนอยกวารอยละ ๘๐ มีผลสัมฤทธิ์ใน
สาระความรูพื้นฐานไมต่ํากวารอยละ ๖๐
๗) พัฒนาระบบการวัดผลและประเมินผลการศึกษานอกระบบทุกหลักสูตร
โดยเฉพาะหลักสูตรในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานใหไดมาตรฐาน โดยการนําขอทดสอบกลางมา
ใชอยางมีประสิทธิภาพ
๑.๕ การประกันคุณภาพการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
๑) เรงรัดใหสถานศึกษาพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในใหไดมาตรฐาน โดย
พัฒนาบุคลากรใหมีความรู ความเขาใจ และสามารถดําเนินการประกันคุณภาพภายในของ
สถานศึกษาไดอยางตอเนื่องโดยใชการประเมินภายในดวยตนเอง
๒) เรงรัดใหสํานักงาน กศน.จังหวัด/กทม. ดําเนินการประเมินคุณภาพภายใน
ของสถานศึกษาโดยตนสังกัดใหผานการประเมินคุณภาพภายใน ไมนอยกวารอยละ ๘๐
๓) เรงรัดดําเนินการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา กศน.ที่มีผลการประเมิน
ภายนอกของสถานศึกษาไมไดตามมาตรฐานที่สมศ.กําหนดโดยปรับแผนพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาของสถานศึกษา และดําเนินการตามแผนการจัดการศึกษาของสถานศึกษาใหได
คุณภาพตามมาตรฐานที่กําหนด สําหรับสถานศึกษาที่ยังไมไดเขารับการประเมินคุณภาพ
ภายนอก ใหพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาใหไดคุณภาพตามมาตรฐานที่กําหนด
๔) สงเสริม สนับสนุนใหสถานศึกษาที่ไดรับการรับรองคุณภาพมาตรฐาน
สมศ. ผดุงระบบการประกันคุณภาพการศึกษาใหไดตามมาตรฐานที่กําหนด
๑.๖ พัฒนาการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต
๑) จัดและพัฒนาหลักสูตร รูปแบบและกิจกรรมสงเสริมการศึกษาและการ
เรียนรูใหเหมาะสมสอดคลองกับสภาพ บริบทในพื้นที่ และความตองการของกลุมเปาหมายใน
เขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต เพื่อใหสามารถพัฒนาศักยภาพของตนเองและ
เสริมสรางความสัมพันธในทองถิ่น
๒) สงเสริมการเทียบโอนความรูและประสบการณ และการเทียบระดับ
การศึกษา ดานศาสนศึกษาเขาสูการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
๓) ใหหนวยงานและสถานศึกษาจัดใหมีมาตรการดูแลรักษาความปลอดภัย
แกบุคลากรและนักศึกษา กศน.ตลอดจนผูมาใชบริการอยางทั่วถึง


๑.๗ การศึกษาทางไกล
๑) พัฒนาการจัดการศึกษาทางไกล ทั้งระบบการใหบริการ ระบบการเรียน
การสอน ระบบการวัดผลและประเมินผลการเรียน ทั้งหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ
การศึกษาตอเนื่องโดยบูรณาการการใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาในรูปแบบที่หลากหลาย
มาเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการศึกษาทางไกลใหมีคุณภาพ
๒) พัฒนาศักยภาพของบุคลากรใหมีความพรอมในการจัดและใหบริการ
การศึกษาทางไกลเพื่อใหประชาชนไดรับโอกาสทางการศึกษาอยางทั่วถึง และมีคุณภาพ
๓) ขยายกลุมเปาหมายภาคีเครือขายผูใหบริการ และผูรับบริการใหมากขึ้น
ทั้งในประเทศและตางประเทศ
๒. นโยบายดานการศึกษาตามอัธยาศัย
๒.๑ การสงเสริมการอาน
๑) พัฒนาระดับความสามารถในการอานของประชาชนทุกกลุมเปาหมายใหได
ระดับอานคลอง เขียนคลอง และอานเชิงคิดวิเคราะหพื้นฐาน โดยผานกระบวนการปฏิรูปการ
เรียนการสอนที่มีคุณภาพ
๒) พัฒนาคนไทยใหมีนิสัยรักการอาน ใฝเรียน ใฝรู โดยปลูกฝงและสราง
เจตคติใหเห็นคุณคาและประโยชนของการอาน ประชาสัมพันธสงเสริมใหทุกคนมีสวนรวม และ
กําหนดมาตรการจูงใจเครือขายสงเสริมการอาน
๓) สงเสริมใหมีการสรางบรรยากาศ และสิ่งแวดลอมที่เอื้อตอการอาน ให
เกิดขึ้นในสังคมไทย โดยสนับสนุนการพัฒนาแหลงการอานใหเกิดขึ้นอยางกวางขวาง และ
หลากหลาย รวมทั้งมีความพรอมในดานสื่ออุปกรณที่สนับสนุนการอาน และการจัดกิจกรรมเพื่อ
สงเสริมการอานที่หลากหลาย โดยเฉพาะงานมหกรรมรักการอานในสวนภูมิภาค
๔) สงเสริม และสนับสนุนการสรางเครือขายสงเสริมการอานโดยจัดใหมี
อาสาสมัครสงเสริมการอานในทุกตําบล
๕) สงเสริมใหมี “นครแหงการอาน” ในจังหวัดที่มีความพรอมเพื่อสรางเสริม
บทบาทของการสงเสริมการอาน


๒.๒ หองสมุดประชาชน
๑) มุงเนนพัฒนาหองสมุดประชาชนทุกแหงใหเปนศูนยกลางการเรียนรูตลอดชีวิต
ของชุมชนเปนแหล งคนควาและแลกเปลี่ ยนเรียนรูการพัฒนาอาชีพเพื่ อการมีงานทําและสราง
รายไดอยางยั่งยืนและการสรางความพรอมใหกับประชาชนในการเขาสูประชาคมอาเซียน
๒) จัดตั้งหองสมุดประชาชนในอําเภอที่ยังไมมีหองสมุดประชาชน เพื่อจัดบริการ
ใหกับประชาชนอย างครอบคลุมและทั่ วถึง โดยเนนการระดมทรัพยากรและความร วมมือ
จากภาคีเครือขายในการดําเนินงาน
๓) จัดหาโครงสรางพื้นฐานดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารเพื่ อ
เชื่อมโยงกับแหลงการเรียนรูตางๆ สําหรับใหบริการในหองสมุดประชาชน
๔) จัดกิจกรรมส งเสริมการเรียนรูในรูปแบบที่ หลากหลายทั้งภายในและ
ภายนอกหองสมุด เพื่อปลูกฝงนิสัยรักการอาน และพัฒนาศักยภาพการเรียนรูดวยตนเองของ
ประชาชน เพื่อสามารถนําความรูที่ไดรับไปใชประโยชนไดจริงในการปฏิบัติ
๕) จัดหนวยบริการเคลื่อนที่พรอมอุปกรณเพื่อสงเสริมการอานและการเรียนรู
ที่หลากหลายออกใหบริการประชาชนในพื้นที่ตางๆ อยางทั่วถึง สม่ําเสมอเพื่อเพิ่มโอกาสการ
เรียนรูและการพัฒนาอาชีพของประชาชนและชุมชน
๖) พัฒนาศักยภาพบุคลากร ที่รับผิดชอบการบริการของหองสมุดประชาชน ให
มีความรู ความสามารถในการใหบริการสนับสนุนการดําเนินงานหองสมุด
๗) แสวงหาภาคีเครือขายเพื่อใหเกิดการมีสวนรวมในการสนับสนุนการ
ดําเนินงานหองสมุดประชาชน
๒.๓ วิทยาศาสตรเพื่อการศึกษา
๑) พัฒนาและจัดทํานิทรรศการ มหกรรมวิทยาศาสตรสัญจร และจัดกิจกรรมที่
เนนการเสริมสรางทักษะและกระบวนการเรียนรูทางวิทยาศาสตรเพื่อพัฒนาทักษะการคิด
วิเคราะหปลูกจิตสํานึกทางดานวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม กระตุนการใชความคิดสรางสรรค และ
สรางแรงบันดาลใจใหประชาชนนําความรู ทักษะ และกระบวนการเรียนรูทางวิทยาศาสตรไปใช
ในการพัฒนาชีวิต พัฒนาอาชีพ และพัฒนาสิ่งแวดลอมอยางตอเนื่อง
๒) เชื่อมโยงกระบวนการเรียนรูวิทยาศาสตรเพื่อพัฒนาชุมชนโดยเนน
วิทยาศาสตรชุมชนใหผูรับบริการสามารถนําไปประยุกตใชในการพัฒนาอาชีพ สิ่งแวดลอม
การปองกันภัยพิบัติจากธรรมชาติและการดํารงชีวิตประจําวัน ของประชาชนในพื้นที่
๓) สงเสริม สนับสนุน ภาคีเครือขายทั้งภาครัฐ และภาคเอกชนทั้งใน
และตางประเทศใหรวมจัดกิจกรรมการเรียนรูทางดานวิทยาศาสตรแกผูรับบริการ
๔) สงเสริม สนับสนุนการวิจัยและพัฒนาสื่อการเรียนรู และกิจกรรมดาน
วิทยาศาสตรใหมีรูปแบบและเนื้อหา ที่หลากหลาย สามารถปลูกฝงใหผูรับบริการมีเจตคติที่ดีตอ
วิทยาศาสตรอยางมีประสิทธิภาพ
๕) สงเสริม สนับสนุนการพัฒนานวัตกรรมดานวิทยาศาสตรเชิงบูรณาการ
เพื่อเปนฐานสูการพัฒนาเศรษฐกิจเชิงสรางสรรค
๖) พัฒนาศูนยวิทยาศาสตรเพื่อการศึกษาใหเปนแหลงการเรียนรูเชิงวิชาการ
แหลงจุดประกายการพัฒนาอาชีพ และแหลงทองเที่ยวประจําทองถิ่น
๓. นโยบายดานการสงเสริมการเรียนรูของชุมชน
๓.๑ พัฒนา กศน.ตําบล/แขวง ใหเปนศูนยกลางการสรางโอกาสและกระจาย
โอกาสทางการศึกษาใหกับประชาชนในชุมชน
๑) จัดหาครุภัณฑและสิ่งอํานวยความสะดวก ตลอดจนโครงสรางพื้นฐาน
ดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เหมาะสมกับ กศน.ตําบล/แขวง ใหครบทุกแหง
เพื่อสนับสนุนการบริหาร การจัดกิจกรรมการศึกษาและการเรียนรู ที่สามารถตอบสนองความ
ตองการของประชาชนและชุมชนไดทันเวลา
๒) จัดหาหนังสือและสื่อการเรียนรูในรูปแบบตางๆ อาทิ สื่อสิ่งพิมพ สื่อ
เทคโนโลยี ที่มีคุณภาพในรูปแบบและสาระที่หลากหลาย ทันสมัย ประชาชนสามารถนําไปใช
ประโยชนในการพัฒนาตนเองและครอบครัว การพัฒนาอาชีพ การพัฒนาชุมชน และการสราง
ความบันเทิง  เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแขงขันและความสุขในชีวิตใหกับประชาชนในชุมชน
๓) จัดกิจกรรมสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิตเชิงรุกที่หลากหลาย ทันสมัย
สรางสรรค ตอเนื่อง และตอบสนองความตองการของประชาชนและชุมชน โดยจัดใหมี
การจัดการศึกษาผานทีวีสาธารณะ การฝกอาชีพ การสงเสริมการเรียนรูดานวิทยาศาสตร
คณิตศาสตร การปองกันภัยพิบัติ การศึกษาการดูแลรักษาธรรมชาติและสิ่งแวดลอม การ
เสริมสรางกระบวนการประชาธิปไตย การเสริมสรางความรูเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน และ
ความจําเปนเรงดวนตางๆ ของแตละชุมชน
๔) เรงรัดให กศน.ตําบล/แขวง จัดกิจกรรมสงเสริมการอาน และสงเสริมใหมี
กลุมสงเสริมการอานเพื่อพัฒนาเปนชุมชนรักการอาน โดยใชอาสาสมัครสงเสริมการอาน
เปนกลไกในการจัดกิจกรรมสงเสริมการอานในรูปแบบตางๆ ในชุมชน โดยดําเนินงาน
เปนทีมรวมกับครู กศน.ตําบล/แขวง
๕) พัฒนาระบบฐานขอมูลสภาพการรูหนังสือและความตองการทางการศึกษา
และการเรียนรูของประชากรวัยแรงงานและผูสูงอายุ ใหครอบคลุมทุกพื้นที่ทั่วประเทศ ครบถวน
ถูกตอง ทันสมัยและเชื่อมโยงกันอยางเปนระบบ สามารถสืบคนไดทันความตองการ เพื่อประโยชน
ในการจัดการศึกษาใหกับกลุมเปาหมายดังกลาว
๖) สงเสริมและพัฒนาเครือขาย กศน.ตําบล/แขวง เพื่อการประสานเชื่อมโยง
และสงตอผูเรียนใหไดรับบริการทางการศึกษาที่สนองตอบตอความตองการอยางมีประสิทธิภาพ
๗) พัฒนาระบบการติดตามประเมินผล กศน.ตําบล/แขวง อยางตอเนื่อง รวมทั้ง
ใหมีการติดตามและประเมินผลการดําเนินงาน กศน.ตําบล/แขวง และจัดใหมีการรายงานตอ
สาธารณะ รวมทั้งนําผลมาพัฒนาการดําเนินงาน กศน.ตําบล/แขวง อยางตอเนื่อง
๘) กํากับและติดตามให กศน.ตําบล/แขวง ดําเนินการใหเปนไปตามมาตรฐาน
การดําเนิน กศน.ตําบล/แขวง
๓.๒ สงเสริมและสนับสนุนใหทุกภาคสวนเขามามีสวนรวมเปนภาคีเครือขาย
ในการจัด สงเสริม และสนับสนุนการจัดการศึกษาตลอดชีวิตและการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อ
การมีงานทําอยางยั่งยืน ใหครอบคลุมพื้นที่ทุกระดับ
๑) พัฒนาระบบฐานขอมูลภาคีเครือขายทุกระดับ โดยจําแนกตามระดับความ
พรอมในการมีสวนรวม ทั้งนี้ใหดําเนินการจัดทําระบบฐานขอมูลใหมีความถูกตอง ทันสมัย และ
สามารถเชื่อมโยงกันไดทั่วประเทศ เพื่อประโยชนในการใหการสงเสริมและสนับสนุนไดอยาง
เหมาะสมสอดคลองกับศักยภาพ และระดับการมีสวนรวมในการจัดการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัยของภาคีเครือขาย
๒) พัฒนาบุคลากรภาคีเครือขายใหมีศักยภาพในการจัดการศึกษาตลอดชีวิต
และการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทําอยางมีคุณภาพ
๓) ใหหนวยงานและสถานศึกษา ประสานการทํางานรวมกับภาคีเครือขาย
เพื่อใหมีความรูความเขาใจในบทบาทหนาที่ และภารกิจเกี่ยวกับการศึกษานอกระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศัยในการเปนกลไกสําคัญเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน

๓.๓ อาสาสมัคร กศน.
๑) สงเสริมใหผูมีจิตอาสา ตลอดจนผูรู ภูมิปญญาทองถิ่น และขาราชการ
บํานาญเขามาเปนอาสาสมัคร กศน. โดยเขามามีบทบาทในการจัดกิจกรรมการเรียนรูการศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในชุมชน เปนผูสื่อสารขอมูลความรูที่เปนประโยชนแก


ประชาชนและนําเสนอความตองการการเรียนรูและการพัฒนาชุมชน โดยทํางานเปนทีมรวมกับ
ครูในสังกัด สํานักงาน กศน.
๒) สงเสริมใหอาสาสมัคร กศน. ไดรับการพัฒนาสมรรถนะใหเปนผูจัด และ
ผูสงเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีคุณภาพ
๓) เสริมสรางขวัญและกําลังใจในรูปแบบตางๆ แกอาสาสมัคร กศน. เพื่อให
ตระหนักถึงคุณคาและความสําคัญของตนเอง และเขามามีสวนรวมดําเนินการจัดและสงเสริม
การเรียนรูตลอดชีวิตอยางมีคุณภาพและยั่งยืน
๓.๔ การสงเสริมการจัดการเรียนรูในชุมชน
๑) จัดกิจกรรมการเรียนรูตลอดชีวิตในชุมชนโดยใชกศน.ตําบล/แขวง
ที่ดําเนินการอยูแลวใหเกิดประโยชนสูงสุด
๒) สงเสริมการจัดกระบวนการเรียนรูในชุมชนโดยการจัดทําแผนชุมชน
จัดเวทีชาวบาน การศึกษาดูงาน การฝกอบรม เพื่อนําความรูไปแกปญหาหรือพัฒนาชุมชน
๓) สงเสริมใหมีการบูรณาการความรูในชุมชนใหเชื่อมโยงกับหลักสูตรตางๆ
ของ กศน. โดยคํานึงถึงการประกอบอาชีพและการมีงานทําของผูเรียนที่แทจริง เพื่อประโยชน
ในการมีงานทําและการเทียบโอนความรูและประสบการณ
๔) สงเสริมใหมีขยายและพัฒนาแหลงการเรียนรูชุมชนในการถายทอด
องคความรู โดยใหมีการจัดทําและเผยแพรสื่อเพื่อการธํารงรักษาและถายทอดองคความรู
ในชุมชน
๕) พัฒนาศักยภาพและสงเสริมใหภูมิปญญาทองถิ่น ผูเชี่ยวชาญองคความรู
ดานตางๆ เปนแหลงการเรียนรูของชุมชน
๔. นโยบายดานการสนับสนุนโครงการพิเศษ
๔.๑ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ
๑) สงเสริมการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเพื่อ
สนับสนุนโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ หรือโครงการอันเกี่ยวเนื่องจากพระราชวงศ
อยางมีคุณภาพและเกิดผลโดยตรงกับกลุมเปาหมาย
๒) จัดทําฐานขอมูลโครงการและกิจกรรมของ กศน.ที่สนองงานโครงการ
อันเนื่องมาจากพระราชดําร


๔.๒ โครงการจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงชายแดนของ ศฝช.
๑) ใหศฝช.ทุกแหง เปนศูนยกลางในการพัฒนาบุคลากร และการเผยแพร
ความรูดานเกษตรธรรมชาติโดยความรวมมือระหวาง สํานักงาน กศน.กับ มูลนิธิ MOA ไทย
และ MOA International
๒) มุงจัดและพัฒนาการศึกษาอาชีพ กระบวนการเรียนรูการจัดกิจกรรมพัฒนา
อาชีพที่สอดคลองกับบริบทของชุมชนชายแดน โดยเนนเรื่องเกษตรธรรมชาติใหแกประชาชนตาม
แนวชายแดน
๓) จัดและพัฒนา ศฝช.ใหเปนศูนยสาธิตการประกอบอาชีพ ศูนยการเรียนรู
ตนแบบการจัดกิจกรรมตามแนวพระราชดําริปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การประกอบอาชีพ
สําหรับประชาชนตามแนวชายแดน
๔) จัดระบบเครือขายศูนยการเรียนรูอาชีพ ศูนยเรียนรูปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียง โดยเชื่อมโยงกับ กศน.ตําบล/แขวง ในพื้นที่
๔.๓ การสงเสริมและจัดการศึกษาสําหรับกลุมเปาหมายพิเศษ
๑) สงเสริม สนับสนุน การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
ใหกับกลุมเปาหมายพิเศษ ไดแก ผูสูงอายุ คนพิการ ผูดอยโอกาส ผูไรสัญชาติเด็กและเยาวชน
ที่อยูนอกระบบโรงเรียน เด็กดอยโอกาส คนเรรอน คนไทยในตางประเทศ
๒) จัดและสงเสริมการเรียนรูและใชภาษาไทยในชีวิตประจําวันสําหรับ
กลุมชาติพันธุ
๓) พัฒนาศูนยการเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แมฟาหลวง” ใหมีความพรอม
ในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
๔) พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกิจกรรม ใหสอดคลองกับสภาพและความ
ตองการของกลุมเปาหมายพิเศษแตละกลุม
๕) ศึกษาวิจัยรูปแบบการจัดการศึกษาที่เหมาะสมกับกลุมเปาหมายพิเศษ
๖) พัฒนาคุณภาพและความมั่นคงในการปฏิบัติงานของครูที่รับผิดชอบ
กลุมเปาหมายพิเศษ


๕. นโยบายดานเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
๕.๑ พัฒนาสถานีวิทยุศึกษาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและการออกอากาศให
กลุมเปาหมายสามารถใชเปนชองทางการเรียนรูที่มีคุณภาพไดอยางตอเนื่องตลอดชีวิต โดย
ขยายการรับฟงใหครอบคลุมทั่วประเทศ
๕.๒ พัฒนาสถานีวิทยุโทรทัศนเพื่อการศึกษาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและ
การออกอากาศใหกลุมเปาหมายสามารถใชเปนชองทางการเรียนรูที่มีคุณภาพไดอยางตอเนื่อง
ตลอดชีวิตโดยรวมสถานีวิทยุโทรทัศนเพื่อการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ (ETV) และสถานี
Teacher TV เพื่อเพิ่มชองทางใหสามารถรับชม   ไดทั้งระบบ C – Band และ Ku – Band
พรอมที่จะรองรับการพัฒนาเปนสถานีวิทยุโทรทัศนเพื่อการศึกษาสาธารณะ (Free ETV)
๕.๓ พัฒนารายการวิทยุเพื่อการศึกษา ใหเชื่อมโยงและตอบสนองตอการจัด
กิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษาเพื่อสงเสริมคุณภาพ
การเรียนการสอนและกระจายโอกาสทางการศึกษาสําหรับกลุมเปาหมายตาง ๆ ทั่วประเทศ
๕.๔ พัฒนารายการวิทยุโทรทัศนเพื่อการศึกษา ใหเชื่อมโยงและตอบสนองตอการ
จัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษาเพื่อสงเสริมคุณภาพ
การเรียนการสอนและกระจายโอกาสทางการศึกษาสําหรับกลุมเปาหมายตาง ๆ ทั่วประเทศ
๕.๕  เสริมสรางโอกาสใหนักเรียน นักศึกษา และประชาชนทุกลุมเปาหมายมี
ทางเลือกในการเรียนรูที่หลากหลายและมีคุณภาพโดยจัดใหมีการผลิตรายการพัฒนาอาชีพเพื่อ
การมีงานทําทางสถานีวิทยุศึกษา สถานีวิทยุโทรทัศนเพื่อการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ (ETV)
และสถานีวิทยุโทรทัศนสาธารณะ
๕.๖  ผลิตและเผยแพรสื่ออิเล็กทรอนิกสเพื่อการศึกษาสําหรับกลุมเปาหมายทั่วไป
และกลุมเปาหมายเพื่อคนพิการ เพื่อพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนรูปแบบการจัดการศึกษา
ทางไกล การศึกษาตามอัธยาศัย และการศึกษาทางเลือก
๕.๗  พัฒนาบุคลากรของสถานศึกษาและภาคีเครือขายใหสามารถผลิต เผยแพร
และใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาไดอยางมีประสิทธิภาพ
๕.๘  พัฒนาระบบการใหบริการสื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาใหไดหลายชองทางทั้ง
ทางอินเทอรเน็ต และรูปแบบอื่น ๆ  เชน  DVD, CD, VCD และ MP3 เปนตน เพื่อให
กลุมเปาหมายสามารถใชบริการไดตามความตองการ
๕.๙ สํารวจ วิจัย และติดตามประเมินผลดานสื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาอยาง
ตอเนื่อง


๖. นโยบายดานการบริหารจัดการ
๖.๑ การพัฒนาบุคลากร
๑)  พัฒนาบุคลากรทุกระดับใหมีสมรรถนะสูงขึ้นอยางตอเนื่อง ทั้งกอนและ
ระหวางการดํารงตําแหนงเพื่อใหสามารถปฏิบัติงาน และบริหารจัดการการดําเนินงานของ
หนวยงานและสถานศึกษาใหมีประสิทธิภาพและเปนมืออาชีพ
๒) พัฒนาบุคลากรทุกระดับใหมีความรู ความเขาใจ เจตคติที่ดีในการ
ปฏิบัติงาน และมีความสามารถในการบริหารจัดการศูนยฝกอาชีพชุมชนใหเปนศูนยกลางในการ
ฝกและสรางอาชีพที่มั่นคงใหกับประชาชนและชุมชนพรอมที่จะแขงขันในเวทีอาเซียนและเวที
สากล
๓)  พัฒนาหัวหนา กศน.ตําบล/แขวงใหมีสมรรถนะสูงขึ้นในการบริหารจัดการ
กศน.ตําบล/แขวง และการปฏิบัติงานตามบทบาทภารกิจอยางมีประสิทธิภาพ โดยเนนการเปน
นักจัดการความรูและผูอํานวยความสะดวกการเรียนรูเพื่อใหผูเรียนเกิดการเรียนรูที่มี
ประสิทธิภาพอยางแทจริง
๔) สงเสริมและพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ กศน.ตําบล/แขวง เพื่อการมีสวนรวม
ในการบริหารการดําเนินงานตามบทบาทภารกิจของ กศน.ตําบล/แขวง อยางมีประสิทธิภาพ
๕) พัฒนาอาสาสมัคร กศน.ตําบล/แขวง ใหสามารถทําหนาที่เปนผูสงเสริมและ
สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของ กศน.ตําบล/แขวง ที่มี
คุณภาพ
๖) เสริมสรางสัมพันธภาพระหวางบุคลากร รวมทั้งภาคีเครือขายในทุกระดับ
เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานรวมกัน โดยจัดใหมีกิจกรรมการพัฒนาบุคลากร และ
ภาคีเครือขายในรูปแบบที่หลากหลายอยางตอเนื่อง เชน มหกรรมกีฬา กศน. การแลกเปลี่ยน
เรียนรูการดําเนินงานในรูปแบบตางๆ
๗) สงเสริมและสนับสนุนใหมีการพัฒนานวัตกรรมสําหรับการพัฒนาสมรรถนะ
ของบุคลากร
๘) สงเสริมใหบุคลากรในสังกัดพัฒนาตนเองเพื่อเลื่อนตําแหนงหรือเลื่อน
วิทยฐานะโดยเนนการประเมินวิทยฐานะเชิงประจักษ
๖.๒ การกํากับ นิเทศ ติดตาม ประเมิน และรายงานผล
๑) สรางกลไกการกํากับ นิเทศ ติดตาม ประเมิน และรายงานผลการดําเนินงาน
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใหเชื่อมโยงกับหนวยงาน สถานศึกษา และภาคี
เครือขายทั้งระบบ


๒) สงเสริมการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และสื่ออื่นๆ ที่
เหมาะสม เพื่อการกํากับ นิเทศ ติดตาม ประเมินผล และรายงานผลอยางมีประสิทธิภาพ
๖.๓ โครงสรางพื้นฐานและอัตรากําลัง
๑) จัดทําแผนการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานและดําเนินการปรับปรุงสถานที่และ
วัสดุอุปกรณ ใหมีความพรอมในการจัดการศึกษา
๒) ระดมทรัพยากรจากชุมชน เพื่อนํามาใชในการปรับปรุงโครงสรางพื้นฐาน
ใหมีความพรอมสําหรับจัดกิจกรรมสงเสริมการเรียนรูของประชาชน
๓) แสวงหาภาคีเครือขายในทองถิ่นเพื่อการมีสวนรวมในการจัดกิจกรรม
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
๔) เรงผลักดันใหมีการประกาศใชกฎหมายวาดวยการศึกษาตลอดชีวิต
๕) บริหารอัตรากําลังที่มีอยูทั้งในสวนที่เปนขาราชการ พนักงานราชการ
และลูกจาง ใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการปฏิบัติงาน
๖.๔ การพัฒนาองคความรูและฐานขอมูล
๑) วิจัยและพัฒนานวัตกรรมการบริหารจัดการที่เหมาะสมและสอดคลองกับ
นโยบายของกระทรวงศึกษาธิการในการใชการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเปน
กลไกสําคัญในการพัฒนาที่ยั่งยืนโดยเฉพาะดานเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม
๒) สงเสริมใหมีการจัดการความรูในหนวยงานและสถานศึกษาทุกระดับ รวมทั้ง
การศึกษาวิจัยเพื่อสามารถนํามาใชในการพัฒนาประสิทธิภาพการดําเนินงานที่สอดคลองกับ
ความตองการของประชาชนและชุมชนพรอมทั้งพัฒนาขีดความสามารถเชิงการแขงขันของ
หนวยงานและสถานศึกษาทั้งในระดับอาเซียนและระดับสากล
๓) พัฒนาระบบฐานขอมูลใหมีความครบถวน ถูกตอง ทันสมัย และเชื่อมโยงกัน
ทั่วประเทศอยางเปนระบบเพื่อใหหนวยงานและสถานศึกษาในสังกัดสามารถนําไปใชเปน
เครื่องมือสําคัญในการบริหาร และจัดบริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
อยางมีประสิทธิภาพ
๔) สนับสนุนใหมีการประชาสัมพันธและสรางภาพลักษณใหม ของ กศน.
ในการสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิตและการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทํา เพื่อสรางกระแสให
ประชาชนและทุกภาคสวนของสังคมเห็นความสําคัญและเขามามีสวนรวมในการจัดกิจกรรม
ของ กศน.ทั้งในฐานะผูรับบริการ ผูจัด ผูสงเสริมและสนับสนุนการดําเนินงานของ กศน.
กศน.แขวงบ้านพานถม 110 ถนนกรุงเกษม แขวงบางขุนพรหม เขตพระนคร กทม. 10200 โทรศัพท์ 0-2280-8348 โทรสาร 0-2280-8349 มือถือ 083-270-1720